ขนาดฟ้อน
สีอักษร
หน้าแรก
บริการ
ภารกิจ
ฝ่ายยุทธศาสตร์อุตสาหกรรมและการลงทุน
โปรแกรมบริหารเภสัชภัณฑ์และเซลล์บำบัด
โปรแกรมบริหารและพัฒนาเทคโนโลยีเครื่องมือแพทย์และหุ่นยนต์ทางการแพทย์ขั้นสูง
โปรแกรมบริหารโภชนเภสัชภัณฑ์และเวชสำอาง
ฝ่ายการใช้ประโยชน์นวัตกรรมเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
APEC Life Science
โครงการความร่วมมือด้านการวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมระหว่างภูมิภาคอาเซียนและกลุ่มประเทศยุโรป
ศูนย์ข้อมูล
ข้อมูลยาหมดสิทธิบัตร
บทวิเคราะห์แนวโน้มของเทคโนโลยี
กฏระเบียบและข้อบังคับด้านการลงทุน
บทวิเคราะห์ข้อมูลสถิติทางการตลาด
ข่าวสารธุรกิจและการลงทุน
ฐานข้อมูลเชิงธุรกิจ
ทรัพย์สินทางปัญญา (IP Portfolio)
ผู้เชี่ยวชาญ
หน่วยงานสนับสนุน
ผู้ประกอบการ
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
Thailand Life Sciences
Roadmap TCELS
Thai Clinical Trials Registry (TCTR)
ศูนย์การเรียนรู้ ออนไลน์ CSDT e-Learning
ศูนย์การเรียนรู้ออนไลน์ CSDT e-Learning
ระบบฐานข้อมูล EPs และ NQI สำหรับเครื่องมือแพทย์แห่งชาติ
ศูนย์ให้คำปรึกษาและบริการวิชาการเครื่องมือแพทย์
Genomics
แผนยุทธศาสตร์ฯ ATMP ในประเทศไทย
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ข่าวสารองค์กร
ปฏิทินกิจกรรม
ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
ประกาศราคากลาง
แผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง
สรุปผลปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง
ประกาศการจัดซื้อจัดจ้างจากระบบ e-GP
ร่วมงานกับเรา
ตำแหน่งงาน
ประกาศผลการสมัครงาน
วิดีโอ
เกี่ยวกับ ทีเซลส์
ภาพรวมองค์กร
โครงสร้างองค์กร
คณะกรรมการและผู้บริหาร
แผนบริหารความต่อเนื่องของศูนย์
พ.ร.บ ข้อมูลข่าวสาร
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข้อมูลข่าวสารตามมาตรา 7
ข้อมูลข่าวสารตามมาตรา 9
สัญญาอื่นๆ
เอกสารอื่นๆ ที่ต้องรายงาน
แบบฟอร์มสำรวจความพึงพอใจ
นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
นโยบายความเป็นส่วนตัว
นโยบายคุกกี้
พันธมิตร
พันธมิตร
ติดต่อเรา
search
© ศลช. 2018, All right reserved
EN
TH
ศูนย์ข้อมูล
>
บทวิเคราะห์แนวโน้มของเทคโนโลยี
>
แนวโน้มตลาดหุ่นยนต์ทางการแพทย์
แนวโน้มตลาดหุ่นยนต์ทางการแพทย์
02/03/2563
แม้ว่าคนส่วนใหญ่จะเข้าใจว่าหุ่นยนต์จะมีลักษณะเหมือนมนุษย์ หรือที่เรียกว่า ฮิวแมนนอยด์ (Humanoid) ซึ่งประกอบด้วยหัว แขน และขา แต่อันที่จริงแล้วหุ่นยนต์ไม่จำเป็นต้องมีลักษณะเหมือนมนุษย์ แต่อาจเป็น เพียงแขนกลดังเช่นที่นิยมใช้ทั่วไปในโรงงานอุตสาหกรรม ปัจจุบันมีการใช้หุ่นยนต์เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่พัฒนาแล้วเพื่อทดแทนกับจำนวนแรงงานที่ลดลง รวมทั้งมีการใช้หุ่นยนต์นอกภาคอุตสาหกรรมเพิ่มมากขึ้น เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรที่เข้าสู่สังคมสูงวัย ในขณะที่จำนวนบุคลากรทางการแพทย์นั้นมีจำกัด ตัวอย่างของหุ่นยนต์ทางการแพทย์ ได้แก่ หุ่นยนต์ใช้ในการผ่าตัด (หุ่นยนต์ช่วยในการผ่าตัดและหุ่นยนต์ที่ช่วยหยิบอุปกรณ์การผ่าตัดให้กับทีมผ่าตัด) หุ่นยนต์เพื่อช่วยในด้านพัฒนาการของเด็ก หุ่นยนต์เพื่อการติดตามผู้ป่วยบนหอผู้ป่วย หุ่นยนต์ทางการพยาบาล หุ่นยนต์เพื่อการขนส่งทางการแพทย์ หุ่นยนต์เพื่อการกายภาพบำบัด หุ่นยนต์ในห้องปฏิบัติการ หุ่นยนต์ดูแลผู้สูงอายุ ตลอดจนหุ่นยนต์ประชาสัมพันธ์ นอกจากนี้ ยังรวมถึงหุ่นยนต์ที่ใช้เกี่ยวกับยา เช่น หุ่นยนต์จัดยา หุ่นยนต์สำหรับเตรียมยาเคมีบำบัด หุ่นยนต์สำหรับร้านขายยา และหุ่นยนต์สำหรับอุตสาหกรรมยาที่ใช้เพื่อการผลิตยาในโรงงาน
กรุณากรอกข้อมูลด้านล่างเพื่ออ่านต่อ
Email
Page view :
1074